ตลาดกล้วยในญี่ปุ่น : ต้องเป็นเป็นกล้วยที่ปลอดสารพิษ

  • warning: Creating default object from empty value in /home/thaiorga/domains/thaiorganictrade.com/public_html/sites/all/modules/openwebmini/openoai/ioai/ioai.module on line 591.
  • strict warning: Non-static method flag_flag::factory_by_row() should not be called statically in /home/thaiorga/domains/thaiorganictrade.com/public_html/sites/all/modules/contrib/flag/flag.module on line 1424.

กล้วยที่จะส่งออกไปญี่ปุ่นจะต้องเป็นกล้วยที่ปลอดสารพิษ ซึ่งควรใช้วิธีปลกูที่ไม่ใช้ปุ๋ยเคมีหรือยาฆ่าแมลง >>>ปัจจุบันกล้วยเป็นผลไม้ซึ่งเป็นที่นิยมอันดับหนึ่งในญี่ปุ่น จากการสำรวจความเห็นผู้บริโภคในปี 2015 พบว่า ร้อยละ 65 ของผู้บริโภคในญี่ปุ่นรับประทานกล้วยมากที่สดุ ในกลุ่มผลไม้ ซึ่งได้ครองอันดับหนึ่งของผลไม้ยอดนิยมใน ญี่ปุ่นตั้งแต่ปี 2004 เป็นต้นมา ขึ้นแซงหน้าแอปเปิลและส้ม แมนดาริน โดยร้อยละ 30 ของผ้บูริโภคญี่ปุ่นรับประทาน กล้วยสปัดาห์ละ 4-5 วัน ผลผลิตกล้วยภายในประเทศ เนื่องจากสภาพภมูิอากาศ ญี่ปุ่นจึงมีการปลกกล้วย ส่วนใหญ่เพียงใน 2 จังหวัดทางตอนใต้สุดของประเทศ คือจังหวัดโอกินาวา(ร้อยละ 66 ของผลผลิตรวม)และ คาโงชิมา(ร้อยละ 34) โดยมีพื้นที่เพาะปลกูรวมทั้งสิ้น 32 เฮกตาร์ ได้ผลผลิตรวมเพียง 124 ตัน   ทั้งนี้กล้วยที่ปลูกใน 2 พื้นที่ดังกล่าวส่วนใหญ่เป็นกล้วยพันธุ์ Shima Banana(หรือ Island Banana) การนำเข้ากล้วย ร้อยละ 99 ของกล้วยซึ่งบริโภคในตลาดญี่ปุ่นเป็นกล้วยที่นำเข้าจากต่างประเทศ โดยในปี 2018 มีการ นำเข้ารวม 1 ล้านตัน มลูค่า 1.006 แสนล้านเยน (ราว 3 หมื่นล้านบาท) แหล่งนำเข้าอันดับหนึ่ง คือ ฟิลิปปินส์ มีปริมาณ 8.38 แสนตัน หรือร้อยละ 83.6 ของปริมาณนำเข้าทั้งสิ้น แหลง่นำเข้าอื่นๆ รองลงมาได้แก่ เอกวาดอร์ 1.11 แสนตัน (ร้อยละ 11.0) เม็กซิโก 2.8 หมื่นตัน (ร้อยละ 2.8 ) กัวเตมาลา 7.7 พันตัน (ร้อยละ 0.8 ) เปรู 5.8 พันตัน (ร้อยละ 0.6 ) และโคลัมเบีย 2.4 พันตัน (ร้อยละ 0.2) ตามลำดับ  การนำเข้าจากไทยในปี 2018 มีปริมาณ 2,069 ตัน หรือคิดเป็นเพียงร้อยละ 0.21 อย่างไรก็ตาม การ นำเข้าจากไทยแม้ว่าได้มีการลดลงช่วงหนึ่งคือระหว่างปี 2009-2013 แต่ตลอดระยะที่ผ่านมาตั้งแต่ปี 1993 ได้ แสดงแนวโน้มเพิ่มขึ้น .......( อ่านข้อมูลเพิ่มเติมตามไฟล์แนบ )

 

AttachmentSize
banana_in_japan.pdf508.39 KB